Course Summary

APTN’s Towards Transformative Healthcare: Asia Pacific Trans Health and Rights Module is an introductory resource on trans competent and gender-affirming healthcare for medical professionals and other healthcare workers in Asia and the Pacific, particularly those in primary care including community-based health services. 

Through a self-paced and interactive course, the Toward Transformative Healthcare Module (TTHM) will increase healthcare providers’ knowledge, attitudes, and skills on providing trans clinical and culturally competent care. There are 12 topics, covering everything from gender diversity across the region, to tips on how to create an affirming and welcoming environment for trans patients, to specific healthcare considerations for trans individuals related to mental health, sexual and reproductive health, gender-affirming care, and more.


After completing this module, you will have knowledge of current standards of care for trans patients and  be able to confidently provide healthcare services aligned with global best practices and be able to make your trans patients feel welcomed and affirmed in your clinic. 

Course curriculum

  1. 1
    • ยินดีต้อนรับ

    • กรอบวัตถุประสงค์และสิทธิมนุษยชน

    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    • องค์ประกอบชุดคู่มือ

    • การจัดทำชุดข้อมูลนี้

    • บทสะท้อนคิด

  2. 2
    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    • คำศัพท์​เฉพาะ

    • 1.1 อัตลักษณ์และการแสดงออกทางเพศ

    • 1.2 ศัพท์เฉพาะเกี่ยวกับเพศสภาพของบุคคล

    • 1.3 รสนิยม ความรู้สึก และพฤติกรรมทางเพศ

    • 1.4 ลักษณะทางเพศ

    • 1.5 การปรับเปลี่ยนให้ตรงกับเพศภาวะ

    • 1.6 บริการเพื่อการข้ามเพศ

    • แบบฝึกหัด​สะท้อนคิด

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  3. 3
    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    • 2.1 ความเครียดของชนกลุ่มน้อยและผลกระทบทางจิตสังคมต่อสุขภาพจิต

    • 2.2 บริบทด้านสุขภาพจิตและความเป็นอยู่ที่ดีของคนข้ามเพศในภูมิภาคนี้

    • 2.3 บริการสุขภาพจิต

    • แบบฝึกหัด​สะท้อนคิด

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  4. 4
    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    • 3.0 การยุติการระบุว่าเป็นความเจ็บป่วย คือ หนทางสู่ความยุติธรรมสำหรับคนข้ามเพศ

    • 3.1 การยุติการระบุว่าเป็นความเจ็บป่วย - การเป็นคนข้ามเพศไม่ใช่ความเจ็บป่วย

    • 3.2 การวินิจฉัยแบบไม่ระบุว่าเป็นความเจ็บป่วย ที่ถูกนำมาใช้สำหรับบริการข้ามเพศ

    • 3.3 การใช้หนังสือยินยอม

    • 3.4 ระบบผู้เฝ้าประตู

    • 3.5 แบบฝึกหัด: ทบทวนตัวอย่างการใช้ระบบผู้เฝ้าประตูจากเว็บไซต์ TransHub

    • แบบฝึกหัด​สะท้อนคิด

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  5. 5
    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้ & หลักการสำคัญ (4.1)

    • 4.2 สภาพแวดล้อมทางกายภาพในสถานพยาบาล

    • 4.3 การใช้ชื่อ สรรพนาม และเพศสภาพ

    • 4.4 การพูดถึงส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยความละเอียดอ่อน

    • 4.5 หลีกเลี่ยงคำถามที่ไม่จำเป็นและเป็นการคุกคาม

    • 4.6 การตรวจสภาพร่างกาย

    • 4.7 แบบฝึกในสถานการณ์จำลอง

    • แบบฝึกหัด​สะท้อนคิด

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  6. 6
    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    • 5.1 ประวัติทางการแพทย์และการผ่าตัด

    • 5.2 การใช้สารเติมเต็ม

    • 5.3 การตรวจคัดกรองมะเร็ง

    • แบบทดสอบ

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  7. 7
    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    • 6.1 ความสำคัญของสุขภาวะทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์

    • 6.2 การเก็บประวัติทางเพศ

    • 6.3 สุขภาพทางเพศบริเวณช่องคลอดใหม่

    • 6.4 ศัลยกรรมยืดขยายคลิตอริส การผ่าตัดสร้างอวัยวะเพศชาย และสุขภาพทางเพศ

    • 6.5 อนามัยการเจริญพันธุ์ การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์ และการคุมกำเนิด

    • 6.6 การล่วงละเมิดทางเพศ

    • แบบฝึกหัด​สะท้อนคิด

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  8. 8
    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    • ประสบการณ์ทรานส์ PLHIV

    • 7.1 บทนำ

    • 7.2 แผนผังการให้บริการด้านการป้องกัน การดูแล และการรักษา HIV

    • 7.3 ปัญหาด้าน HIV ของผู้หญิงข้ามเพศ

    • 7.4 ความชุกของการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มผู้ชายข้ามเพศและนอน-ไบนารีที่เป็นเพศหญิงแต่กำเนิด

    • 7.5 การรู้สถานะและการตรวจ

    • 7.6 การใช้ยาเพื่อการป้องกันและการรักษา

    • แบบฝึกหัด​สะท้อนคิด

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  9. 9
    • ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการดูแลที่ยืนยันเพศ

  10. 10
    • ฮอร์โมนเพื่อการข้ามเพศ

    • 8.1 ภาพรวมในระดับภูมิภาค

    • 8.2 หนังสือยินยอม… ใบเบิกทางสู่การรับบริการฮอร์โมนเพื่อการข้ามเพศ

    • 8.3 การให้ฮอร์โมนบำบัดเพื่อการข้ามเพศ โดยการใช้หนังสือยินยอม

    • 8.4 ชนิดของฮอร์โมน ปริมาณการใช้ และผลกระทบ

    • 8.5 ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับฮอร์โมนบำบัดเพื่อการข้ามเพศ

    • 8.6 การติดตามผลจากห้องปฏิบัติการขณะให้ฮอร์โมน

    • 8.7 การประเมินภาวะหัวใจและหลอดเลือดสำหรับคนข้ามเพศที่ใช้ฮอร์โมนเพื่อการข้ามเพศ

    • แบบฝึกหัด​สะท้อนคิด

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  11. 11
    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    • Video หัวข้อ 9: การแปลงเพศอื่นๆ แบบไม่ใช้ศัลยกรรม

    • 9.1 การกำจัดขน

    • 9.2 การเรียนฝึกเสียงและการสื่อสาร

    • 9.3 การอำพรางอวัยวะเพศ

    • 9.4 การกดรัด

    • 9.5 การใช้อวัยวะเทียม

    • แบบฝึกหัด​สะท้อนคิด

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  12. 12
    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    • 10.1 บริบทระดับภูมิภาค

    • 10.2 บทบาทของบุคลากรทางการแพทย์ทั่วไป

    • 10.3 สรุปการผ่าตัดเพื่อการข้ามเพศในรูปแบบต่างๆ

    • 10.4 เกณฑ์คุณสมบัติในการเข้ารับการผ่าตัดตามแนวปฏิบัติของ WPATH SOC v7

    • 10.5 การติดตามผลหลังการผ่าตัด

    • แบบฝึกหัด​สะท้อนคิด

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  13. 13
    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    • Video หัวข้อ 11: การสนับสนุนเด็กและเยาวชนที่มีความหลากหลายทางเพศ

    • 11.1 สรุปภาพรวม

    • 11.2 ความสำคัญของการปรับเปลี่ยนให้ตรงกับเพศภาวะสำหรับเด็กและเยาวชน

    • 11.3 บทบาทของบุคลากรทางการแพทย์ทั่วไป

    • 11.4 การรักษาความลับ

    • 11.5 การให้ความยินยอม

    • 11.6 ขั้นตอนทางการแพทย์ที่สามารถ​ย้อนกลับคืนมาได้ทั้งหมด

    • 11.7 การรักษาด้วยฮอร์โมนเพื่อการข้ามเพศในกลุ่มวัยรุ่นที่สามารถ​ย้อนกลับคืนมาได้บางส่วน

    • 11.8 การรักษาด้วยการผ่าตัดในกลุ่มวัยรุ่นข้ามเพศและมีความหลากหลายทางเพศ ที่ไม่สามารถ​ย้อนกลับคืนมาได้

    • บทสะท้อนคิด

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  14. 14
    • วัตถุประสงค์การเรียนรู้

    • 12.1 การให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยแต่ละราย

    • 12.2 การส่งเสริมกลไกการร้องเรียน

    • 12.3 การสนับสนุนเพื่อความเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ

    • แบบฝึกหัด: ทบทวนคำแถลงจากหน่วยงานด้านสุขภาพต่างๆ

    • 12.4 แบบสอบถามผลการให้บริการสุขภาพระดับชุมชน

    • แบบฝึกหัด​สะท้อนคิด

    • ประเด็นการปฏิบัติ

    • แหล่งที่มา

  15. 15
    • บทสะท้อนคิดปิดท้าย และการแสดงความเห็น

    • บทสะท้อนคิด

    • ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับชุดคู่มือนี้